ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

Encyclopaedia Britannica

สารานุกรมบริตานิกา (อังกฤษ: Encyclop?dia Britannica) เป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษ ตีพิมพ์โดยบริษัท Encyclop?dia Britannica, Inc. ซึ่งเป็นบริษัทเอกชน บทความภายในสารานุกรมบริตานิกาเน้นที่การให้ความรู้แก่ผู้อ่านวัยผู้ใหญ่ เขียนขึ้นจากทีมงานที่ประกอบด้วยบรรณาธิการที่ทำงานเต็มเวลากว่า 100 คน และผู้เขียนบทความซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญมากกว่า 4,000 คน เป็นสารานุกรมที่ได้รับความนิยมและใช้อ้างอิงทางวิชาการมากที่สุด

สารานุกรมบริตานิกาเป็นสารานุกรมภาษาอังกฤษที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังตีพิมพ์อยู่จนถึงปัจจุบัน โดยตีพิมพ์เป็นครั้งแรกระหว่างปี ค.ศ. 1768 และ 1771 ที่เมืองเอดินเบอระ สก็อตแลนด์ และเติบโตทั้งขนาดและความนิยมมาเป็นลำดับ ฉบับแก้ไขครั้งที่สามในปี ค.ศ. 1801 มีการตีพิมพ์เป็นจำนวนมากกว่า 21 เล่มชุด (คือมี 21 เล่มใน 1 ชุด) ผลจากการเติบโตอย่างต่อเนื่องทำให้เป็นที่สนใจของนักเขียนบทความเพิ่มมากขึ้น ในการปรับปรุงแก้ไขครั้งที่ 9 (1875-1889) และครั้งที่ 11 (1911) ถือเป็นสารานุกรมฉบับที่โดดเด่นที่สุดสำหรับนักวิชาการและผู้ชื่นชอบวรรณศิลป์ นับแต่ฉบับปรับปรุงแก้ไขครั้งที่ 11 เป็นต้นมา สารานุกรมบริตานิกาก็เริ่มเขียนบทความให้สั้นลงและกระชับขึ้นเพื่อเข้าสู่ตลาดในอเมริกาเหนือ ปี ค.ศ. 1933 สารานุกรมบริตานิกาเป็นสารานุกรมแห่งแรกที่ประกาศนโยบาย "การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง" โดยมีการพิมพ์ซ้ำและปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาในบทความให้ทันสมัยอยู่ตลอดตามตารางกำหนดเวลาที่แน่นอน

ฉบับพิมพ์ปัจจุบันและฉบับสุดท้ายเป็นฉบับปรับปรุงครั้งที่ 15 ประกอบด้วยเนื้อหา 3 ส่วน ส่วนแรกมี 12 เล่มชุด ชื่อ Microp?dia เป็นบทความสั้น (ส่วนมากมีความยาวน้อยกว่า 750 คำ) ส่วนที่สองมี 17 เล่มชุด ชื่อ Macrop?dia เป็นบทความยาว (มีความยาวตั้งแต่ 2 ถึง 310 หน้าต่อบทความ) และส่วนสุดท้ายเป็นเอกเทศชื่อ Prop?dia จัดทำเพื่อเรียบเรียงความรู้ของมนุษยชาติในรูปแบบโครงสร้างลำดับชั้น วัตถุประสงค์ของ Microp?dia มีเพื่อการตรวจสอบอย่างรวดเร็วและช่วยในการค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมใน Macrop?dia ผู้อ่านสามารถศึกษาโครงสร้างบทความใน Prop?dia ก่อนก็ได้เพื่อทำความเข้าใจกับบริบทของเรื่องที่ต้องการศึกษาและจะได้ค้นหาส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องได้ง่าย สารานุกรมบริตานิกามีขนาดค่อนข้างคงที่มาตลอดเวลากว่า 70 ปี โดยมีความยาวประมาณ 40 ล้านคำ จำนวนบทความประมาณ 500,000 เรื่อง หลังจากปี ค.ศ. 1901 ฐานการตีพิมพ์ก็ย้ายมายังสหรัฐอเมริกา แต่กระนั้นสารานุกรมบริตานิกายังคงยึดหลักการสะกดคำตามแบบอังกฤษดั้งเดิมอย่างเคร่งครัด

ตลอดเส้นทางประวัติศาสตร์ของสารานุกรมบริตานิกา ได้ผ่านช่วงเวลาอันยากลำบากในการสร้างผลกำไร ซึ่งเป็นปัญหาปกติทั่วไปของสารานุกรมทั้งหลาย บทความบางเรื่องในช่วงต้นของบริตานิกาเคยถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าไม่ถูกต้อง มีอคติ หรือเขียนขึ้นโดยผู้เขียนที่ไม่มีความรู้เพียงพอ จวบจนถึงปัจจุบันก็ยังมีข้อสงสัยเกี่ยวกับความถูกต้องแม่นยำของเนื้อหาในสารานุกรมอยู่ แม้ว่าคณะผู้บริหารบริตานิกาจะท้าให้เหล่านักวิจารณ์ชี้ชัดออกมาให้รู้แน่ อย่างไรก็ดี แม้จะมีข้อวิพากษ์วิจารณ์อย่างไร สารานุกรมบริตานิกาก็ยังคงเป็นที่ยอมรับทั่วไปในฐานะแหล่งอ้างอิงงานวิจัยที่เชื่อถือได้

เดือนมีนาคม ค.ศ. 2012 ประธานของบริตานิกา จอร์จ เคาซ์ ประกาศว่าจะหยุดผลิตฉบับพิมพ์เพิ่มเติม โดยฉบับปรับปรุงครั้งที่ 15 พิมพ์เมื่อ ค.ศ. 2010 เป็นฉบับสุดท้าย บริษัทจะหันไปเน้นเฉพาะฉบับออนไลน์และอุปกรณ์การศึกษาอื่น

บริตานิกาถูกเปลี่ยนมือมาหลายต่อหลายครั้ง ผู้ที่เคยเป็นเจ้าของบริตานิกามาก่อนได้แก่ สำนักพิมพ์สัญชาติสก๊อต เช่น A & C Black, Horace Everett Hooper, Sears Roebuck and William Benton เป็นต้น เจ้าของบริตานิกาคนปัจจุบันคือ Jacqui Safra นักแสดงและมหาเศรษฐีชาวสวิส ซึ่งเป็นเจ้าของ Encyclop?dia Britannica, Inc. จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศประกอบกับการเติบโตของสารานุกรมอิเล็กทรอนิกส์หลายแห่ง เช่น Microsoft Encarta และ วิกิพีเดีย ทำให้ความจำเป็นในการตีพิมพ์สารานุกรมลดน้อยลง ดังนั้นเพื่อให้ดำรงความสามารถในการแข่งขันเอาไว้ Encyclop?dia Britannica, Inc. จึงชูความน่าเชื่อถือของสารานุกรมบริตานิกาเป็นหลัก ลดราคาและลดต้นทุนการผลิตลง รวมถึงพัฒนาสารานุกรมในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มเติมบนซีดีรอม ดีวีดี และเวิลด์ไวด์เว็บ นับแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1930 บริษัทยังเพิ่มการประชาสัมพันธ์งานอ้างอิงรูปแบบอื่นๆ มากขึ้นด้วย<ref name="encyclopedia_1954"/


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

อาสวกิเลส อวิชชา เอ็มพีแอลเอส ภาวะถ่ายโอนแบบไม่ประสานเวลา แวน สมาร์ทโฟน ไลน์ (โปรแกรมประยุกต์) แอลทีอี 4 จี 3 จี วีโอไอพี บริการข้อความสั้น ใยแก้วนำแสง ระบบโทรศัพท์ การกล้ำสัญญาณ เนตเวิร์กสวิตช์ เราต์เตอร์ สัญญาณดิจิทัล ซิมเพล็กซ์ สายอากาศ เสาอากาศ แลน Transmission Control Protocol อินเทอร์เน็ตโพรโทคอล แพ็กเกตสวิตชิง ดาวเทียมสื่อสาร การพูด การสื่อสารภายในบุคคล การประชาสัมพันธ์ การโฆษณาชวนเชื่อ การตลาด การสื่อสารระหว่างบุคคล ไอแซค อสิมอฟ เขามาจากดาวอังคาร อินุยาฉะ เทพอสูรจิ้งจอกเงิน สโลว์สเต็ป สัญกรณ์โอใหญ่ พรีไบโอติกส์ ป. อินทรปาลิต การเวก (พืช) การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สีเทา สีขาว สีน้ำตาล ม่วง เขียว น้ำเงิน สีกากี ชมพู ระบบสี RGB SVG เบราว์เซอร์ แม่สีแสง CSS RGB เวิลด์ไวด์เว็บคอนซอร์เทียม เว็บจีแอล จาวาสคริปต์ Font family (HTML) ซีเอสเอส สไตล์ชีต ด็อม ซี-เอชทีเอ็มแอล เอกซ์เอชทีเอ็มแอล เอชทีเอ็มแอล5 COLOR ISO 11940 ธอง แม่กุญแจสีม่วง ไวต่ออักษรใหญ่เล็ก แม่กุญแจสีทอง ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า ปากานี ซอนด้า เคนต์ โลตัส อีลิส โรวัน แอตคินสัน พยัคฆ์ร้าย ศูนย์ ศูนย์ ก๊าก พยัคฆ์ร้ายทวงแค้นระห่ำโลก จอมมฤตยู 007 เอียน เฟลมมิง พยัคฆ์ร้ายสะบัดลาย โคเวนทรี ระบบส่งกำลัง โปรตอน เอ็กซ์โซร่า โปรตอน วาจา โปรตอน เพอร์โซนา โปรตอน เพรเว่ นิตยสารฟอร์บส Thai language Japanese language Polish language Italian language Dutch language Hindi 2007 พระแม่กาลี มหาธิการิณี

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 23944